"ทับทิม" สุดยอดราชินีแห่งผลไม้อุดมประโยชน์ บำรุงหัวใจ กระตุ้นความจำ คั้นเป็นน้ำก็อร่อย

คอมเมนต์:

รู้แบบนี้กินตั้งนานแล้ว

หมายเหตุ : สามารถรับชมคลิปเพิ่มเติมได้ที่ด้านล่างบทความค่ะ

        "ราชินีแห่งผลไม้" ที่ขึ้นชื่อในเรื่องของคุณประโยชน์ที่มากมาย สำหรับ "ทับทิม" ผลไม้ที่ได้รับความนิยมสูงเนื่องจากอุดมไปด้วยประโยชน์มากมาย นอกจากความสวยของสีแดงของน้ำทับทิมมาจากเมล็ดทับทิมแล้ว ยังช่วยบำรุงรักษาร่างกายเราได้เป็นอย่างดี  จึงนับได้ว่า ทับทิมเป็นผลไม้ที่มีคุณค่าต่อร่างกายอย่างแท้จริง และยังเป็นผลไม้ที่หาทานได้ง่ายอีกด้วย 

        ไม่เพียงเท่านั้นทับทิมยังเป็นผลไม้ที่มีการนำมาใช้ในวงการแพทย์มาแล้วนับพันปี  ในปัจจุบันมีกระแสการรับประทานกันทั่วโลก ไม่ว่าจะในรูปแบบผลทับทิมสด น้ำผลไม้สกัดเพื่อสุขภาพ

 

Sponsored Ad

 

24 ประโยชน์ของทับทิม ผลไม้ไทยใกล้ตัว ที่ไม่ควรพลาดที่จะกิน

        1. น้ำทับทิมมีสารต้านอนุมูลอิสระหลายชนิด และมีประสิทธิภาพสูงมากสามารถลดภาวะการแข็งตัวของ เ ลื อ ด จากไขมันใน เ ลื อ ด สูง

        2. แก้ตาน ข โ ม ย

 

Sponsored Ad

 

        3. แก้ เ จ็ บ ในคอ

        4. โ ร ค เสื่อมสมรรถภาพทางเพศ

        5. แก้ โ ร ค ลักปิดลักเปิด

        6. บำรุงกระเพาะอาหาร

 

Sponsored Ad

 

        7. ทำให้เจริญอาหาร

        8. แก้ปวดกระเพาะอาหาร

        9. แก้จุกแน่นอาหารไม่ย่อย

        10. แก้ปวดเอว

        11. เป็นย าบำรุงกำลัง

        12. ป้องกัน ม ะ เ ร็ ง ต่ อ ม ลู ก ห ม า ก

        13. แก้อาเจียนเป็นเ ลื อ ด แก้ เ ลื อ ด กำเดา 

        14. บรรเทา โ ร ค หัวใจและความดัน โ ล หิ ต สูง

        15.ช่วยเพิ่มพลังและความงาม

        16. รักษาโ ร ค อ้วน

 

Sponsored Ad

 

        17. ช่วยส่งเสริมการทำงานของหลอด เ ลื อ ด ลดการแข็งตัวของหลอด เ ลื อ ด แดงและช่วยเสริมสุขภาพของหัวใจให้ดีขึ้น

        18. แก้ท้องเสีย แก้บิด ปิดธาตุ

        19. แก้ แ ผ ล พุพองเน่าเปื่อย ห้ามเ ลื อ ด สมาน แ ผ ล

        20. แก้ตกขาว

        21. ช่วยต้านโ ร ค  H I V

        22. แก้หิด กลาก

        23. ต้านแบคทีเรีย ในน้ำทับทิมมีวิตามินซีสูงและสารอาหารที่เสริมภูมิคุ้มกันอื่นๆ นอกจากนี้ยังได้ถูกทดสอบว่าเป็นผลไม้ที่มีฤทธิ์ต้านแบคทีเรียอีกด้วย

        24.ช่วยขับพยาธิ ขับพยาธิเส้นด้าย ไส้เดือน ตัวตืด

        ข้อแนะนำ / ข้อควรระวัง

 

Sponsored Ad

 

        1. อาจมีอาการข้างเคียง คือ วิงเวียน ตาพร่า อ่อนเพลีย ควรหยุดใช้

        2. สารขับพยาธิ ในเปลือกต้น เปลือกราก คือ สารเพลเลททิเทอรีน สลายตัวได้ง่าย จึงควรใช้เปลือกสดและเตรียมไม่นาน

        3. การใช้ในขนาดสูงมากทำให้ม่านตาขยาย ปวดศีรษะ คลื่นไส้ อาเจียน ท้องเสีย ง่วงซึม

        4. สำหรับสตรีมีครรภ์และให้นมลูก น้ำทับทิมนั้นอาจจะไม่มีผลกระทบใดๆ แต่การกินสารสกัดจากทับทิมนั้นควรปรึกษาแพทย์ที่ท่านฝากครรภ์ก่อน

        5. ผู้ที่มีความดันต่ำ การดื่มน้ำทับทิมอาจจะทำให้เกิดความเสี่ยงได้ เพราะน้ำทับทิมจะทำให้ความดันของท่านต่ำลงกว่าเดิม

 

Sponsored Ad

 

        6. คนที่แพ้พืช สำหรับคนแพ้พืชก็อาจจะมีแนวโน้มในการแพ้น้ำทับทิม และสารสกัดจากทับทิมได้สูงมาก

        7. การ ผ่ า ตั ด เนื่องด้วยน้ำทับทิมหรือสารสกัดจากทับทิมมีผลการควบคุมความดัน โ ล หิ ต ท่านควรหยุดรับประทาน 2 สัปดาห์ก่อนการ ผ่ า ตั ด

        เมื่อคุณต้องกินร่วมกับยา

Sponsored Ad

        1. ยาที่ใช้เกี่ยวกับตับ (Cytochrome P450 2D6 (CYP2D6) substrates) จะมีปฏิกิริยากับทับทิม

        2. ในกรณีที่คุณต้องทานยาเกี่ยวกับการรักษา โ ร ค เกี่ยวกับตับ พร้อมกับกินสารสกัดจากทับทิมคุณควรปรึกษาแพทย์ผู้เชียวชาญตัวอย่างเช่นยาพวก Amitriptyline (Elavil), โคเดอีน desipramine (Norpramin) flecainide (Tambocor) fluoxetine (Prozac) ondansetron (Zofran) Tramadol (Ultram) และอื่น ๆ

        3. ยาสำหรับความดัน โ ล หิ ต สูง ( ACE inhibitors) จะมีปฏิกิริยากับทับทิม น้ำทับทิมดูเหมือนว่าจะลดความดัน โ ล หิ ต แต่การดื่มน้ำทับทิมพร้อมกับยาสำหรับความดัน โ ล หิ ต สูงอาจทำให้เกิดความดัน โ ล หิ ต ของคุณจะต่ำเกินไป เช่นยาพวก captopril (Capoten) enalapril (Vasotec) lisinopril (Prinivil, Zestril) ramipril (Altace) และอื่น ๆ

        ผลข้างเคียงและความปลอดภัย ยังไม่พบว่ามีผลข้างเคียงจากการดื่มน้ำทับทิมสด แต่ก็อาจจะมีบางคนเท่านั้นที่แพ้น้ำทับทิม สารสกัดจากทับทิมที่ใช้กินหรือทา อาจจะทำให้บางคนแพ้ อาจจะเกิดอาการคัน บวม น้ำมูกไหล และหายใจลำบากได้ ไม่ควรกินรากทับทิมในปริมาณมาก เพราะรากทับทิมนั้นมี พิ ษ

ชมคลิปเพิ่มเติม : "ทับทิม"  ผลไม้เพื่อสุขภาพ

คลิปเปิดไม่ออก >>> กดตรงนี้ คลิ๊ก <<<

ชมคลิปเพิ่มเติม : วิธีทำน้ำทับทิม

คลิปเปิดไม่ออก >>> กดตรงนี้ คลิ๊ก <<<

ที่มา : healththai, ทับทิม ฉบับประชาชน สำนักงานข้อมูลสมุนไพร คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล

บทความที่คุณอาจสนใจ